การคำนวณอายุครรภ์ คือการนับอายุทารกที่อยู่ในครรภ์ คุณแม่ส่วนใหญ่จะคุ้นเคยกับการนับ อายุครรภ์ เป็นเดือน...
มีคุณแม่ท้องแฝดมากมายเป็นกังวลกับความสามารถใน การให้นมลูก หลังคลอด...
เผลอเดี๋ยวเดียวเวลาก็ผ่านไปครึ่งปีแล้วนับจากวันที่ลูกน้อยลืมตาขึ้นดูโลก แม้คุณแม่จะตั้งอกตั้งใจดูแลลูกรักให้ดีที่สุดในทุกๆ วัน...
สามารถถีบจักรยานและใช้ขาประคองจักรยานได้มั่นคง นิ้วมือและฝ่าเท้าทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
คุณพ่อคุณแม่เคยสงสัยว่า ทำไมในกลุ่มพ่อแม่ผู้ปกครองถึงไม่ค่อยคุยกันเรื่องอาหารการกินของลูกๆ มากนักทั้งๆ...
เมื่อลูกน้อยลืมตาดูโลก ไม่ว่าเรื่องอะไรที่เกี่ยวกับลูก ทุกอย่างต้องคัดสรรมาอย่างดีที่สุด คุณแม่ต้องพิถีพิถัน เลือกแล้วเลือกอีก...
บทความนี้ถูกบันทึกลงในรายการบทความที่ฉันชื่นชอบ คุณสามารถเข้าไปดูบทความที่คุณบันทึกไว้ได้ที่โปรไฟล์ของฉัน
พัฒนาการทารกในครรภ์เดือนที่ 1 ช่วงนี้เป็นช่วงที่คุณแม่หลายคนอาจจะเพิ่งทราบว่าตัวเองตั้งครรภ์จากการตรวจการตั้งครรภ์ด้วยตัวเอง และความเปลี่ยนแปลงร่างกายเริ่มแสดงอาการเช่น เจ็บตึงเต้านม ง่วงนอนบ่อยๆ อ่อนเพลีย เป็นต้น แต่ที่แม่ตั้งครรภ์อยากรู้ไปกว่านั้นคือ พัฒนาการทารกในครรภ์จะเป็นอย่างไรบ้าง มาดูกันเลยค่ะ
ขนาดทารกในครรภ์
เมื่อคุณแม่ตั้งครรภ์ราวสัปดาห์ที่ 4-5 ลูกน้อยทารกในครรภ์จะเริ่มมีขนาดประมาณเมล็ดงา หรือ หนักประมาณ 1 กรัม ยาวประมาณ 4 มิลลิเมตร ตัวเล็กนิดเดียวแทบนึกไม่ถึงกันเลย
พัฒนาการทารกในครรภ์เดือนที่ 1
ทิปส์การดูแลตัวเองเมื่อตั้งครรภ์เดือนที่ 1
ตั้งครรภ์ รีบไปฝากครรภ์
ฝากครรภ์ครั้งแรกคุณหมอตรวจอะไรบ้าง
การคำนวณอายุครรภ์ คือการนับอายุทารกที่อยู่ในครรภ์ คุณแม่ส่วนใหญ่จะคุ้นเคยกับการนับ อายุครรภ์ เป็นเดือน เรามีวิธีคำนวณอายุครรภ์อย่างถูกต้องมาฝากค่ะ
ช่วงตั้งครรภ์ 2 สัปดาห์ คุณแม่ยังไม่ควรตื่นเต้นมากจนเกินไป เพราะเป็นช่วงเริ่มต้นเท่านั้นเอง มาดูกันค่ะว่าคุณแม่ต้องเตรียมตัวอย่างไรบ้าง
ขอแสดงความยินดีด้วยค่ะ และแล้วคุณก็ได้เป็นคุณแม่คนใหม่ที่แสนจะภูมิใจในตัวลูกน้อยที่น่ารักแข็งแรงของคุณ เขาช่างสมบูรณ์แบบ และนี่ก็คือช่วงเวลาอันแสนมหัศจรรย์
อาหารทะเลทุกประเภทเป็นแหล่งอาหารโปรตีนที่ดี ให้แร่ธาตุกลุ่มโปรตีน ธาตุเหล็ก และสังกะสี ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตและเสริมสร้าง พัฒนาการของทารกในครรภ์ค่ะ
เวลาเดินเร็วจริงๆ นะคะ เข้าสู่เดือนที่ 5 ของการตั้งครรภ์แล้ว คุณแม่หลายๆ คนคงเริ่มที่จะคุ้นชินกับการอุ้มท้องบ้างแล้ว การเปลี่ยนแปลงในด้านร่างกายที่สังเกตได้ชัดคือการขยายของเต้านม การปวดขาเนื่องมาจากเส้นเลือดขอด และเกิดสิวที่ใบหน้าเนื่องจากต่อมใต้ผิวหนังผลิตไขมันมาออกมากขึ้น
ตอนนี้คุณแม่กำลังเข้าสู่ระยะตั้งครรภ์เดือนที่ 8 แล้วนะคะ ตื่นเต้นไหมเอ่ย? เหลือเวลาอีกแค่เพียง 2 เดือนนับจากนี้ไปถึงวันคลอด เรามีเคล็ดลับดีๆ มาฝากคุณแม่ค่ะ
การเจ็บท้องคลอดลูกมักเกิดขึ้นในช่วงตั้งครรภ์ไตรมาสเดือนสุดท้าย หรือประมาณสัปดาห์ที่ 38-40 อาการต่อไปนี่คืออาการเจ็บครรภ์คลอดในระยะที่สองที่คุณแม่ต้องเจอค่ะ
เมื่อผู้หญิงเราเริ่มตั้งครรภ์ส่วนใหญ่จะได้ยินคำแนะนำให้ป้องกันปัญหาหน้าท้องแตกลาย เพราะป้องกันดีกว่าการรักษา เรามีวิธีป้องกันมาฝากค่ะ