การคำนวณอายุครรภ์ คือการนับอายุทารกที่อยู่ในครรภ์ คุณแม่ส่วนใหญ่จะคุ้นเคยกับการนับ อายุครรภ์ เป็นเดือน...
มีคุณแม่ท้องแฝดมากมายเป็นกังวลกับความสามารถใน การให้นมลูก หลังคลอด...
เผลอเดี๋ยวเดียวเวลาก็ผ่านไปครึ่งปีแล้วนับจากวันที่ลูกน้อยลืมตาขึ้นดูโลก แม้คุณแม่จะตั้งอกตั้งใจดูแลลูกรักให้ดีที่สุดในทุกๆ วัน...
สามารถถีบจักรยานและใช้ขาประคองจักรยานได้มั่นคง นิ้วมือและฝ่าเท้าทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
คุณพ่อคุณแม่เคยสงสัยว่า ทำไมในกลุ่มพ่อแม่ผู้ปกครองถึงไม่ค่อยคุยกันเรื่องอาหารการกินของลูกๆ มากนักทั้งๆ...
เมื่อลูกน้อยลืมตาดูโลก ไม่ว่าเรื่องอะไรที่เกี่ยวกับลูก ทุกอย่างต้องคัดสรรมาอย่างดีที่สุด คุณแม่ต้องพิถีพิถัน เลือกแล้วเลือกอีก...
บทความนี้ถูกบันทึกลงในรายการบทความที่ฉันชื่นชอบ คุณสามารถเข้าไปดูบทความที่คุณบันทึกไว้ได้ที่โปรไฟล์ของฉัน
โฟตเลต (กรดโฟลิก) เป็นวิตามินอยู่ในกลุ่มวิตามินบี เป็นสารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกายเพื่อนำมาสร้างพัฒนาการในทุกๆ ด้าน ซึ่งมีสารอาหารอีกหนึ่งชนิดที่ทำหน้าที่สร้างเซลล์สมอง มีผลต่อระบบประสาท ป้องกันความผิดปกติของสมอง สร้างไขสันหลัง และบำรุงเลือดได้อีกด้วย แม่ท้องควรเริ่มทานอาหารที่มีโฟเลตได้ตั้งแต่รู้ว่าตั้งครรภ์ เพราะหากได้รับโฟเลตในปริมาณไม่เพียงพอ จะส่งผลกระทบต่อการสร้างเสริมพัฒนาการทารกในครรภ์โดยตรง
หากทารกในครรภ์ขาดโฟเลตจะส่งผลต่อระบบประสาทของทารกในครรภ์โดยตรง ซึ่งอาจทำให้ทารกเกิดมาพร้อมอาการผิดปกติทางเส้นประสาทหรือพิการ หรือในบางรายอาจปากแหว่ง เพดานปากโหว่ได้เช่นกัน
แหล่งที่พบโฟเลต ได้แก่ พบมากในตับสัตว์ บรอกโคลี หน่อไม้ฝรั่ง ผักโขม ถั่วเมล็ดแห้ง ถั่วลิสง ส้ม มะนาว มะเขือเทศ เมล็ดทานตะวัน ธัญพืชไม่ขัดสี เช่น ข้าวกล้อง ลูกเดือย แคนตาลูป ส่วนเนื้อสัตว์มีโฟเลตในปริมาณตํ่า
5 เมนูแนะนำเพิ่มโฟเลต
การคำนวณอายุครรภ์ คือการนับอายุทารกที่อยู่ในครรภ์ คุณแม่ส่วนใหญ่จะคุ้นเคยกับการนับ อายุครรภ์ เป็นเดือน เรามีวิธีคำนวณอายุครรภ์อย่างถูกต้องมาฝากค่ะ
ช่วงตั้งครรภ์ 2 สัปดาห์ คุณแม่ยังไม่ควรตื่นเต้นมากจนเกินไป เพราะเป็นช่วงเริ่มต้นเท่านั้นเอง มาดูกันค่ะว่าคุณแม่ต้องเตรียมตัวอย่างไรบ้าง
คุณพ่อคุณแม่ที่มีทั้งลูกสาวลูกชายคงรีบพยักหน้าเห็นด้วยในเรื่องที่ว่าลูกน้อยเพศชายและเพศหญิงมีข้อแตกต่างกันเป็นอย่างมาก และหลายๆ ข้อแตกต่างนั้นเป็นเรื่องพื้นฐานที่เกี่ยวกับการทำงานของร่างกายมนุษย์ นั่นก็คือการอุจจาระและปัสสาวะ
เมื่อคุณแม่เริ่มตั้งครรภ์ ส่วนใหญ่มีอาการคลื่นไส้อาเจียน เป็นเรื่องปกติที่คุณแม่แต่ละท่านจะมีอาการแพ้ท้องแตกต่างกัน มาดูกันว่าอาการแพ้ท้องมีอะไรบ้าง
โบราณว่าไว้ “จิตเป็นนาย กายเป็นบ่าว” ในช่วงท้องแบบนี้การดูแลจิตใจจึงสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าการดูแลร่างกายด้านอื่นๆ เลย เพราะอารมณ์ของคุณแม่นั้นมีผลโดยตรงต่อพัฒนาการของเจ้าตัวเล็กในครรภ์ ซึ่งถ้าคุณแม่เครียดมากๆ ทารกก็เสี่ยงที่จะคลอดก่อนกำหนด น้ำหนักตัวน้อย และมีแนวโน้มที่จะงอแง โมโหง่ายมากกว่าเดิมด้วยค่ะ
เมื่อตั้งครรภ์ 20 สัปดาห์เท่ากับว่าคุณแม่ผ่านมาครึ่งทางของการตั้งท้องแล้ว โดยเฉลี่ยระยะเวลาตั้งครรภ์ประมาณ 40 สัปดาห์ คุณแม่ต้องเตรียมพร้อมอย่างไรเรามีคำตอบ
คุณแม่ตั้งครรภ์ในระยะแรกมักประสบปัญหาเดียวกัน นั่นคือ อาการท้องอืด โดยอาการนี้ให้ความรู้สึกเหมือนมีลมในท้องมากกว่าปกติ เรามีคำแนะนำมาฝากค่ะ
คุณแม่ตั้งครรภ์ส่วนใหญ่ทราบกันดีอยู่แล้วว่าการคุยกับลูกน้อยในช่วงตั้งครรภ์ ช่วยให้ลูกได้ยินเสียงและช่วยพัฒนาทักษะภาษาของทารกในครรภ์ ดังนั้นแม่ตั้งครรภ์จึงใช้การส่งเสียงพูดคุย หรือใช้เสียงดนตรีเพื่อกระตุ้นประสาทสัมผัสส่วนการรับฟังของลูกตั้งแต่อยู่ในครรภ์
การตั้งครรภ์ในสัปดาห์ที่ 34 คุณแม่อาจจะรู้สึกอึดอัดมากขึ้น รู้สึกหายใจไม่เต็มปอด มีอาการหายใจตื้นถี่เหมือนคนที่กำลังจะจามเพราะหน้าท้องใหญ่ขึ้น มาดูคำแนะนำกันค่ะ